Arithmetic Operator

Arithmetic = อะไรซักอย่างที่มันเกี่ยวกับคณิตศาสตร์
Arithmetic Operator = การทำสี่งต่างๆ กับตัวแปร เพื่อเอาไว้คำนวณเลขโดยเฉพาะ

ตัวอย่างประเภท Arithmetic Operator

สัญลักษณ์+-*///%**
เรียกว่าAddSubtractMultiplyDivideFloor DivisionModulusExponent
ตัวอย่างการใช้2+32-32*32/32//32&32**3
ผลลัพท์5-160.66666028

น้องๆอาจจะยังเห็น floor division และ modulus มาก่อนเลย พี่มงจะสอนแบบรวบรัดให้นะครับ

Floor Division

เป็นการทำการหาร แล้วค่อย ปัดเศษลงไปเป็นเลขจำนวนเต็ม

Modulus

เป็นการหาร เพื่อ เอาแค่เศษของการหาร

ตัวอย่าง

value_a = 2
value_b = 3

print(value_a + value_b)    # แสดงผลลัพท์ 5
print(value_a - value_b)    # แสดงผลลัพท์ -1
print(value_a * value_b)    # แสดงผลลัพท์ 6
print(value_a / value_b)    # แสดงผลลัพท์ 0.666666...... (ไปเรื่อยๆ)
print(value_a // value_b)   # แสดงผลลัพท์ 0
print(value_a % value_b)    # แสดงผลลัพท์ 2
print(value_a ** value_b)   # แสดงผลลัพท์ 8

WARNING

อย่าลืมว่าน้องๆจะต้องแปลงเป็นตัวเลขซะก่อนที่จะเล่นอะไรพวกนี้เนอะ
แล้วถ้าพี่ไม่เปลี่ยนหล่ะ เช่น "2" + "2" หรือ 2 + "2" จะได้อะไรเอ่ย มีค่าเท่ากันหรือเปล่าครับ

Order of Operations

ด้วยจากว่า หากมีสมการแบบนี้ 112 + 215 * 482 - 54 / 4782 แล้วคอมจะรู้หมือไร่ ว่าจะต้องคำนวณอันไหนก่อน และน้องจะรู้หมือไร่ ว่ามันจะได้ผลลัพท์เหมือนกันหรือเปล่า ถ้าน้องเรียงลำดับการคำนวณไม่เหมือน Python

ดังนั้น Python จึงใช้กฎ PEMDAS เพื่อเป็นการเรียงลำดับของการคำนวณคณิตศาสตร์ครับ
อะไรคือ PEMDAS ก็ดูเอาละกันครับ study.com/academy/lesson/what-is-pemdas-definition-rule-examples.htmlopen in new window

โดยพี่ก็จะขอสรุปไว้ประมาณนี้แล้วกันครับ ว่ามันย่อมาจากอะไร

PEMDAS
Parenthesis
วงเล็บ
Exponential
เลขยกกำลัง
Multiplication
คูณ
Division
หาร
Addition
บวก
Sutraction
ลบ
()***/+-

นั่นคือจะเรื่มทำในวงเล็บก่อน (Parenthesis) แล้วค่อยทำเลขยกกำลัง (Exponent) ตามด้วยคูณ (Multiply) หาร (Divide) บวก (Add) ลบ (Subtract) ตามลำดับ

หากน้องๆ ยังไม่แม่นการคำนวณเลขแบบนี้ ก็สามารถศึกษาต่อได้จาก Khan Academyopen in new window ครับ